ตามหัวข้อกันเลย ประสบการณ์ตรง ใช้ปั้มชัก 1 นิ้วครึ่ง ในยุคที่เราต้องปรับตัวเพื่อให้ทันกับข้อมูล และเทคโนโลยีที่เข้าถึงได้ไวกว่าเดิม ทำให้กิจกรรมทั้งหมดของเราได้รับผลของการเปลี่ยนแปลงไปด้วย ยิ่งถ้ามีกิจกรรมใดที่เราอาจจะยังขาดข้อมูลสำหรับตัดสินใจ เราก็ต้องมีการค้นหา และศึกษาเพื่อหาข้อมูลต่างๆ มาเพิ่มเติม เพื่อให้การลงมือ หรือการตัดสินใจแม่นยำมากขึ้น และบทความนี้เราก็จะมาพูดถึงเรื่องประสบการณ์ตรง ใช้ปั้มชัก 1 นิ้วครึ่ง ซึ่งจะเกี่ยวทั้งปั้มชัก,มอเตอร์ DC,การใช้งานปั้มชัก สิ่งที่อ้อมจะแชร์ในวันนี้สำหรับผู้ที่ยังไม่มั่นใจกับสิ่งที่จะลงมือทำ ถือว่าสำคัญมากๆ เพื่อไม่ให้เสียเวลา เดี๋ยวเราไปเริ่มกันเลยจ้า
ส่วนตัวอ้อมใช้งานปั้มชัก 1 นิ้วครึ่งตัวนี้มา 7 - 8 เดือนเต็มๆ ใช้งานจริงไม่ได้โม้ ส่วนตัวชอบมากค่ะ เพราะไม่ต้องเสียเวลากรอกน้ำตันเปิดปั้ม หากเป็นหน้างานที่ติดตั้งไว้ถาวรเลย แนะนำปั้มชักค่ะ ดีสุดๆ ไม่จุกจิก การซ่อมแซมก็ง่าย ไม่ซับซ้อน
มอเตอร์ที่อ้อมใช้งานกับปั้มชัก 1 นิ้วครึ่งตัวนี้ ใช้มอเตอร์บัสเลส 24V 500W การใช้งานจริงๆ หน้างานมอเตอร์บัสเลสตัวนี้กินกระแสอยู่ที่ 6 - 7 แอมป์ สามารถต่อใช้งานกับแบตเตอรี่ได้เลย
จริงๆ อยู่ว่ามอเตอร์บัสเลสเป็น 24VDC แต่เราสามารถใช้แบตเตอรี่อนุกรมได้ 3 ลูก คือ 36VDC ต่อเข้ากล่องควบคุมมอเตอร์เพื่อใช้งานได้เลย
การต่อแบบ 24VDC กับต่อแบบ 36VDC ต่างกันมากค่ะ การต่อแบบ 36VDC แลดูมอเตอร์ทำงานเต็มประสิทธิภาพมากกว่าต่อแบบ 24VDC จากประสบการณ์ตรงเลยนะคตะ นั้นหมายความว่าเราสามารถต่อแผงโซล่าเซลเข้ามอเตอร์ได้โดยตรง
สำหรับแผงโซล่าเซลที่สามารถใช้กับมอเตอร์บัสเลสตัวนี้ต้องเป็นแผง 300W+ จำนวนอย่างน้อยๆ 2 แผง ให้ดีคือ 4 แผง หรือ 5 แผงโดยการนำแต่ละแผงมาขนานกัน แล้ต่อเข้ามอเตอร์บัสเลสได้เลย
ทำไมถึงแนะนำเป็น 4 แผงขึ้นไป จากประสบการณ์ตรงอีกนั้นแหละ เวลาแดดอ่อน หากเราใช้จำนวนแผงน้อย แรงดันไฟจะตก และการจ่ายกระแสก็จะน้อยลงตามไปด้วย การขนานแผงจะช่วยเสริมจังหวะที่แดดอ่อนที่เองค่ะ ส่งผลให้งานต่อเนื่องไม่ต้องรอแดด
การไหลของน้ำ ถือว่าดีพอได้อยู่ หากหน้างานใช้เป็นสปิงเกอร์, ดูดน้ำขึ้นแท้งค์, ดูดน้ำเข้าหนอง ไม่เน้นงานเร็ว ถือว่าเหมาะสมค่ะ
ของอ้อมใช้งานกับสปิงเกอร์รัศมี 2 - 3 เมตร ใช้ได้พร้อมๆ กัน 16 หัว หากเป็นระบบมินิสปิงเดอร์ก็จะใช้ได้พร้อมๆ กันมากกว่านี้ค่ะ
เป็นยังไงกันบ้างคะ สำหรับเรื่องราว ประสบการณ์ตรง ใช้ปั้มชัก 1 นิ้วครึ่ง เชื่อว่าน่าจะได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ และสารต่องานได้เนาะ ไว้อ้อมจะนำเรื่องราวเกี่ยวกับปั้มชัก,มอเตอร์ DC,การใช้งานปั้มชักมาแชร์อีกเนาะ เพราะเรื่องราวเหล่ายังมีข้อมูลอีกหลายอย่างที่น่าสนใจอีกเพียบเลย ครั้งน่าจะเป็นเรื่องราว สาระความรู้ในหัวข้ออะไร ฝากติดตามกันด้วยนะคะ
[DIY หมวดเกษตร] ประสบการณ์ตรง ใช้ปั้มชัก 1 นิ้วครึ่ง |
[DIY หมวดเกษตร] ประสบการณ์ตรง ใช้ปั้มชัก 1 นิ้วครึ่ง
ต่อจากครั้งที่แล้ว แชร์เรื่องการใช้งานปั้มหอยโข่ง และได้อธิบายข้อดี ข้อเสียของทั้งปั้มหอยโข่ง และปั้มชักไปแล้ว วันนี้จะมาใช้งานปั้ม 1 นิ้วครึ่งให้ดู เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจสำหรับท่านที่กำลังลงทุนกับระบบพลังงานทดแทนส่วนตัวอ้อมใช้งานปั้มชัก 1 นิ้วครึ่งตัวนี้มา 7 - 8 เดือนเต็มๆ ใช้งานจริงไม่ได้โม้ ส่วนตัวชอบมากค่ะ เพราะไม่ต้องเสียเวลากรอกน้ำตันเปิดปั้ม หากเป็นหน้างานที่ติดตั้งไว้ถาวรเลย แนะนำปั้มชักค่ะ ดีสุดๆ ไม่จุกจิก การซ่อมแซมก็ง่าย ไม่ซับซ้อน
มอเตอร์ที่อ้อมใช้งานกับปั้มชัก 1 นิ้วครึ่งตัวนี้ ใช้มอเตอร์บัสเลส 24V 500W การใช้งานจริงๆ หน้างานมอเตอร์บัสเลสตัวนี้กินกระแสอยู่ที่ 6 - 7 แอมป์ สามารถต่อใช้งานกับแบตเตอรี่ได้เลย
จริงๆ อยู่ว่ามอเตอร์บัสเลสเป็น 24VDC แต่เราสามารถใช้แบตเตอรี่อนุกรมได้ 3 ลูก คือ 36VDC ต่อเข้ากล่องควบคุมมอเตอร์เพื่อใช้งานได้เลย
การต่อแบบ 24VDC กับต่อแบบ 36VDC ต่างกันมากค่ะ การต่อแบบ 36VDC แลดูมอเตอร์ทำงานเต็มประสิทธิภาพมากกว่าต่อแบบ 24VDC จากประสบการณ์ตรงเลยนะคตะ นั้นหมายความว่าเราสามารถต่อแผงโซล่าเซลเข้ามอเตอร์ได้โดยตรง
สำหรับแผงโซล่าเซลที่สามารถใช้กับมอเตอร์บัสเลสตัวนี้ต้องเป็นแผง 300W+ จำนวนอย่างน้อยๆ 2 แผง ให้ดีคือ 4 แผง หรือ 5 แผงโดยการนำแต่ละแผงมาขนานกัน แล้ต่อเข้ามอเตอร์บัสเลสได้เลย
ทำไมถึงแนะนำเป็น 4 แผงขึ้นไป จากประสบการณ์ตรงอีกนั้นแหละ เวลาแดดอ่อน หากเราใช้จำนวนแผงน้อย แรงดันไฟจะตก และการจ่ายกระแสก็จะน้อยลงตามไปด้วย การขนานแผงจะช่วยเสริมจังหวะที่แดดอ่อนที่เองค่ะ ส่งผลให้งานต่อเนื่องไม่ต้องรอแดด
การไหลของน้ำ ถือว่าดีพอได้อยู่ หากหน้างานใช้เป็นสปิงเกอร์, ดูดน้ำขึ้นแท้งค์, ดูดน้ำเข้าหนอง ไม่เน้นงานเร็ว ถือว่าเหมาะสมค่ะ
ของอ้อมใช้งานกับสปิงเกอร์รัศมี 2 - 3 เมตร ใช้ได้พร้อมๆ กัน 16 หัว หากเป็นระบบมินิสปิงเดอร์ก็จะใช้ได้พร้อมๆ กันมากกว่านี้ค่ะ
เป็นยังไงกันบ้างคะ สำหรับเรื่องราว ประสบการณ์ตรง ใช้ปั้มชัก 1 นิ้วครึ่ง เชื่อว่าน่าจะได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ และสารต่องานได้เนาะ ไว้อ้อมจะนำเรื่องราวเกี่ยวกับปั้มชัก,มอเตอร์ DC,การใช้งานปั้มชักมาแชร์อีกเนาะ เพราะเรื่องราวเหล่ายังมีข้อมูลอีกหลายอย่างที่น่าสนใจอีกเพียบเลย ครั้งน่าจะเป็นเรื่องราว สาระความรู้ในหัวข้ออะไร ฝากติดตามกันด้วยนะคะ
How many meters (depth) can this pump pull water from the ground?
ตอบลบNot more than 10 meters.
ลบThank you for the info...
ตอบลบปั้มชัก 2 นิ้วต้องใช้มอเตอร์ขนาดไหน
ตอบลบ